ITO Thailand Hygiene Blog
-
ความสูญเปล่า 7 แบบในอุตสาหกรรมอาหาร (ตอนที่ 2)
หลังจากที่เราได้เรียนรู้เกี่ยวกับ 3 ความสูญเปล่าแรกจาก Lean Manufacturing ในตอนที่ 1 แล้ว ตอนนี้ถึงเวลามาทำความรู้จักกับความสูญเปล่าอีก 4 แบบ ที่อาจส่งผลกระทบต่อกระบวนการผลิตของคุณ! มาดูกันว่าแต่ละข้อมีผลอย่างไรในอุตสาหกรรมอาหาร และเราจะปรับปรุงได้อย่างไรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและลดต้นทุน
-
ความสูญเปล่า 7 แบบในอุตสาหกรรมอาหาร (ตอนที่ 1)
ทำความรู้จักกับ Lean Manufacturing และวิธีลด ความสูญเปล่า (Waste) ในกระบวนการผลิตอาหาร! รู้หรือไม่ว่าการลดความสูญเปล่าสามารถเพิ่มประสิทธิภาพ ลดต้นทุน และยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์ได้อย่างมีนัยสำคัญ? ในคอนเท้นต์นี้เราจะพาคุณไปทำความรู้จักกับความสูญเปล่า 3 แบบแรกจาก Lean Manufacturing พร้อมตัวอย่างในอุตสาหกรรมอาหารที่สามารถนำไปปรับใช้ได้จริง คลิกอ่านเลย เพื่อเรียนรู้วิธีการปรับปรุงกระบวนการผลิตและเพิ่มประสิทธิภาพในธุรกิจของคุณ!
-
4 เหตุผลในการเลือกใช้แปรงคุณภาพ Takasago
เลือกแปรงทำความสะอาดให้เหมาะสม เพิ่มมาตรฐานความปลอดภัยในโรงงานอาหาร
-
7 ข้อดีของเครื่องพันฟิล์มพาเลต: เพิ่มความเร็ว ลดต้นทุน และลดแรงงานให้กับคุณ
ในอุตสาหกรรมอาหาร กระบวนการแพ็คสินค้าท้ายไลน์ (End-of-Line Packaging) มีบทบาทสำคัญในการป้องกันความเสียหายของสินค้า ลดต้นทุนแรงงาน และเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่ง โดยเฉพาะการ พันฟิล์มพาเลต ซึ่งช่วยให้สินค้าคงสภาพดี ลดการปนเปื้อน และประหยัดฟิล์มได้มากกว่าการใช้แรงงานคน
-
ฝุ่นในอุตสาหกรรมอาหาร: มองให้ลึกถึงแหล่งที่มาและผลกระทบ
ฝุ่นละอองและอนุภาคขนาดเล็กส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมอาหารอย่างหลากหลาย ตั้งแต่คุณภาพและความปลอดภัยของอาหาร ไปจนถึงความเสี่ยงต่อการเกิดเหตุระเบิดในโรงงาน ความเข้าใจเกี่ยวกับแหล่งที่มาของฝุ่นและผลกระทบจึงมีความสำคัญ เพื่อป้องกันและลดปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในกระบวนการผลิตอาหาร
-
การควบคุมฝุ่นในกระบวนการผลิต: การจัดการและโซลูชั่นที่คุณต้องรู้
การนำฝุ่นเข้าสู่บริเวณผลิตสามารถเกิดขึ้นได้หลายทาง ทั้งจากอากาศ ร่างกายพนักงาน หรือแม้กระทั่งจากการขนส่งวัสดุ ฝุ่นที่มาพร้อมกับพาหะเหล่านี้ไม่เพียงแต่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพและความปลอดภัยของอาหาร แต่ยังอาจเพิ่มความเสี่ยงด้านสุขภาพของพนักงาน และทำให้กระบวนการผลิตเกิดความไม่สะดวก การเข้าใจถึงแหล่งที่มาของฝุ่นและวิธีการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยลดผลกระทบและสร้างสภาพแวดล้อมการทำงานที่ปลอดภัยมากยิ่งขึ้น
-
เปรียบเทียบความแตกต่าง ลูกกลิ้ง – เครื่องดูดฝุ่นและเส้นผม – แอร์ชาวเวอร์
ฝุ่น เส้นผม เส้นขน เศษด้าย เป็นการปนเปื้อนทางกายภาพที่พบได้บ่อยในอุตสาหกรรมอาหาร ซึ่งนอกจากการเปลี่ยนชุด รองเท้า ใส่หมวกและชุดคลุมแล้ว การกำจัดสิ่งปนเปื้อนด้วยวิธีต่าง ๆ ก็เป็นอีกหนึ่งขั้นตอนที่จำเป็นในการลดความเสี่ยงการปนเปื้อน ซึ่งในบรรดาอุปกรณ์ที่ใช้ในขั้นตอนนี้ เช่น ลูกกลิ้ง เครื่องดูดฝุ่นและเส้นผม ห้องเป่าลมหรือแอร์ชาวเวอร์ มักถูกเปรียบเทียบกันอยู่เสมอ ว่าอันไหนดี อันไหนมีความจำเป็น ต้องใช้ซ้ำซ้อนกันหรือไม่ อย่างไร
-
ข่าวสำคัญในอุตสาหกรรมอาหาร: ฉบับครึ่งปีหลังของ 2024
อัปเดตข่าวเด่นในวงการอุตสาหกรรมอาหาร ครึ่งปีหลัง 2024 ติดตามเหตุการณ์สำคัญ เช่น การระบาดของโรคจากอาหาร (Food Outbreak) และ การปรับปรุงกฎหมายอาหาร (Regulation Update) ที่ส่งผลกระทบต่อธุรกิจอาหารทั่งในไทยและต่างประเทศ ไม่ว่าจะเป็นบทเรียนจากการจัดการโรคระบาดหรือการปรับตัวของผู้ผลิตให้สอดคล้องกับมาตรฐานใหม่ มาดูว่าปีนี้มีอะไรที่เปลี่ยนแปลงบ้างในโลกของอุตสาหกรรมอาหาร
-
ข่าวสารอุตสาหกรรมอาหาร: ฉบับครึ่งปีแรก 2024
สรุปข่าวสำคัญในวงการอุตสาหกรรมอาหารช่วงครึ่งปีแรกของ 2024! มาตรฐานใหม่ ความปลอดภัยอาหาร และนโยบายสำคัญที่คุณไม่ควรพลาด อ่านต่อเพื่ออัปเดตข้อมูลสำคัญและเตรียมพร้อมสำหรับเทรนด์อนาคตในระบบอาหาร
-
การตั้งรหัสสีเพื่อสุขาภิบาลในอุตสาหกรรมอาหาร
ความสะอาดและความปลอดภัย ถือเป็นสิ่งสำคัญอันดับแรกในอุตสาหกรรมอาหาร การตั้งรหัสสีในอุตสาหกรรมอาหารเป็นแนวทางสำคัญในการจัดการสุขาภิบาล ลดการปนเปื้อน และช่วยให้กระบวนการผลิตเป็นไปตามมาตรฐาน GMP และ HACCP และจัดการกับวัตถุดิบอย่างมีประสิทธิภาพ บทความนี้จะพาท่านไปสำรวจการตั้งรหัสสีและการแบ่งโซนต่าง ๆ ที่มีผลต่อความปลอดภัยในกระบวนการผลิตอาหาร
-
เมทานอล vs เอทานอล ความแตกต่างที่คุณควรรู้
เรียนรู้เกี่ยวกับอันตรายจากการบริโภคเมทานอลและความแตกต่างระหว่างเอทานอลกับเมทานอล ค้นพบแหล่งที่มาของเมทานอลในอาหาร อาการพิษที่เกิดขึ้น และข้อควรระวังที่สำคัญเพื่อปกป้องความปลอดภัยของคุณและคนที่คุณรักจากการดื่มแอลกอฮอล์อย่างปลอดภัย
-
5 โซลูชั่นการลดสารเคมีสำหรับการทำความสะอาดและฆ่าเชื้อในกระบวนการผลิตอาหาร
ค้นพบ 5 โซลูชั่น ไอเดียการลดสารเคมีสำหรับการทำความสะอาดและฆ่าเชื้อในกระบวนการผลิตอาหาร ที่ช่วยเพิ่มความปลอดภัยและลดความเสี่ยงจากสารเคมีตกค้าง พร้อมแนวทางการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยในการดูแลสุขอนามัยในอุตสาหกรรมอาหาร